|
|
......สารแต่ละประเภทที่ได้กล่าวมาแล้ว
เช่น สารเนื้อเดียว สารละลาย สารบริสุทธิ์ ฯ ย่อมมีสมบัติบางอย่างที่ทั้งเหมือนและแตกต่างกัน
เราจะใช้สมบัติเหล่านี้นี่เองในการพิจารณาว่าสารนั้นๆเป็นสารประเภทใด
|
เปรียบเทียบสารละลาย คอลลอยด์ สารแขวนลอย
|
สมบัติของสาร/ชนิดของสาร
|
สารละลาย
|
คอลลอยด์
|
สารแขวนลอย
|
เนื้อสาร
|
เป็นสารเนื้อเดียวกัน
|
เป็นสารเนื้อผสมที่กลมกลืนกัน
|
เป็นสารเนื้อผสมที่ไม่กลมกลืนกัน
|
เส้นผ่านศูนย์กลางชองอนุภาค
|
น้อยกว่า
10-7 ซ.ม.
|
อยู่ระหว่าง
10-7 - 10-4 ซม.
|
มากกว่า
10-4 ซม.
|
การผ่านกระดาษกรอง
|
ผ่านได้
|
ผ่านได้
|
ไม่ผ่าน
|
การผ่านกระดาษเซลโลเฟน
|
ผ่านได้
|
ผ่านไม่ได้
|
ไม่ผ่าน
|
การตกตะกอน
|
ไม่ตกตะกอน
|
ไม่ตกตะกอน
|
ตกตะกอน
|
การกระเจิงแสง
|
ไม่กระเจิงแสง
(ทะลุผ่านได้เลย)
|
กระเจิงแสง
|
ไม่กระเจิงแสง
(ทึบแสง)
|
|
|
- กระดาษกรองจะยอมให้อนุภาคที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางน้อยกว่าหรือเท่ากับ
10-4 ซม. เท่านั้นจึงจะผ่านไปได้ |
|
- กระดาษเซลโลเฟน(คล้ายกระดาษแก้ว)
จะยอมให้อนุภาคที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางน้อยกว่า10-7 ซม. เท่านั้นจึงจะผ่านไปได้ |
|
เปรียบเทียบสมบัติของสารบริสุทธิ์ กับสารไม่บริสุทธิ์
|
สมบัติ
|
สารบริสุทธิ์
|
สารไม่บริสุทธิ์
|
จุดเดือด
จุดหลอมเหลว
|
คงที่
|
ไม่คงที่
|
ช่วงการหลอมเหลว
|
แคบ
|
กว้าง
|
การแยกสาร
|
แยกยากต้องใช้วิธีทางเคมี
|
แยกง่ายใช้วิธีทางกายภาพ
|
สมบัติของสารใหม
่เมื่อเทียบกับสารเดิม
|
แตกต่างจากองค์ประกอบ
เดิมทุกประการ
|
คล้ายองค์ประกอบเดิม
|
การนำไประเหยแห้ง
|
ไม่มีของแข็งเหลือเลย
|
อาจมีหรือไม่มีของแข็งเหลือก็ได้
|
|
สรุป :
|
1. การดูว่าเป็นสารเนื้อเดียวหรือเนื้อผสมให้ใช้พิจารณาด้วยตาเลย
แต่ถ้าดูไม่ออกค่อยใช้วิธีอื่น เช่นกระดาษกรอง
2. สารบริสุทธิ์กับสารละลายใช้การหาจุดเดือดเป็นหลักในการตัดสิน
3. ระเหยแล้วเหลือของแข็งอยู่ สรุปได้ทันทีว่าไม่บริสุทธิ์ แต่ถ้าไม่เหลืออะไรเลยต้องตอบว่าสรุปไม่ได้
4. ทดสอบคอลลอยด์ใช้การกระเจิงแสงเป็นหลัก
5. ธาตุกับสารประกอบ ทดสอบโดยนำไปเผาถ้าได้สารใหม่ออกมาก็สรุปเลยว่าเป็นสารประกอบ
แต่ถ้าได้สารเดิม ต้องตอบว่า สรุปไม่ได้เช่นกัน
|